G S T C    (Global Sustainable Tourism Criteria)

หลักเกณฑ์ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนสำหรับแหล่งท่องเที่ยว

โดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

G S T C ?

"ความพยายามที่จะสร้างความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ซึ่งถือเป็นแนวทางขั้นพื้นฐานที่หน่วยงานที่รับผิดชอบการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวไปสู่ความยั่งยืนสามารถถือปฏิบัติได้ และเพื่อจะตอบสนองค่านิยามของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน แหล่งท่องเที่ยวจะต้องบริหารจัดการอย่างบูรณาการและมองภาพรวมที่ครอบคลุมทั้ง 4 มิติ โดยหลักเกณฑ์นี้ได้รับการออกแบบให้สามารถประยุกต์ใช้กับแหล่งท่องเที่ยวทุกประเภทและทุกขนาด"

มิติที่ 1

การบริหารจัดการอย่างยั่งยืน

มิติที่ 2

เพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบทางสังคมเศรษฐกิจแก่ชุมชนท้องถิ่น

มิติที่ 3

เพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบทางวัฒนธรรมแก่ชุมชนและนักท่องเที่ยว

มิติที่ 4

เพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบด้านลบทางสิ่งแวดล้อม

Expectations ?

เป็นแนวทางขั้นพื้นฐานสำหรับแหล่งท่องเที่ยวที่ต้องการมุ่งหน้าสู่ความยั่งยืน

ช่วยให้ผู้บริโภค นักท่องเที่ยวสามารถมั่นใจในแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

ช่วยให้สื่อมวลชนสามารถให้ข้อมูลและสื่อสารต่อสาธารณชนเรื่องแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้อย่างชัดเจน

ช่วยให้โปรแกรมการรับรองคุณภาพในแต่ละที่มีมาตรฐานในการพัฒนาหลักเกณฑ์

ช่วยให้หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน หรือ NGOs สามารถมีแนวทางการพัฒนาโครงการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

เป็นแนวทางขั้นพื้นฐานสำหรับการอบรมและพัฒนาบุคคลากร เช่น มหาวิทยาลัย เป็นต้น

G S T C :    Based on Criteria

Pakchong-Khoayai

  • 1. นโยบายและยุทธศาสตร์สู่ความยั่งยืน
  • 2. การบริหารจัดการการท่องเที่ยวที่มีประสิทธิภาพและบนฐานความยั่งยืนที่ช่วยเพิ่มและลดผลกระทบอันเกิดจากการพัฒนาการท่องเที่ยว (ด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม) อย่างเป็นธรรมและคำนึงถึงสิทธิมนุษยชน
  • 3. สภาพแวดล้อมของขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและเป็นธรรม
  • 4. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวให้มีคุณภาพและมีจริยธรรม
Wang-Nam-Khiao

  • 1. นโยบายและยุทธศาสตร์สู่ความยั่งยืน
  • 2. การบริหารจัดการการท่องเที่ยวที่มีประสิทธิภาพและบนฐานความยั่งยืนที่ช่วยเพิ่มและลดผลกระทบอันเกิดจากการพัฒนาการท่องเที่ยว (ด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม) อย่างเป็นธรรมและคำนึงถึงสิทธิมนุษยชน
  • 3. สภาพแวดล้อมของขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและเป็นธรรม
  • 4. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวให้มีคุณภาพและมีจริยธรรม

F O L L O W   U S